ข้อมูลทั่วไป

ประเภทองค์กร:
องค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรภาษาไทย:
กลุ่มอนุรักษ์ป่าต้นน้ำคลองคราม ()
ชื่อองค์กรภาษาอังกฤษ:
()
โทรศัพท์ 1:
077 286 033
โทรศัพท์ 2:
08 1079 2500
โทรสาร:
อีเมล์:
เว็บไซต์:
http://pttinternet.pttplc.com/greenglobe/2549/5year-01.html
วันก่อตั้งองค์กร:
2536-12-01
วันที่เริ่มเป็นสมาชิก:
0000-00-00
ที่อยู่:
102 หมู่ 13 ตำบลท่าอุแท
อำเภอ:
กาญจนดิษฐ์
จังหวัด:
สุราษฎร์ธานี
หมายเหตุ:
1. อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม 2. ส่งเสริมสิทธิของชุมชน
ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU):
ผลงานที่ผ่านมา:
1. ดูแลจัดการเขตป่า 2. ส่งเสริมการทำการเกษตร แปลงเกษตรชุมชน 3. การอบรมค่ายเยาวชน 4. การรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร 5. การเสนอแก้ไขกฎหมาย การผลักดันนโยบาย
ประวัติโดยย่อ:
กลุ่มอนุรักษ์ป่าต้นน้ำคลองคราม ถือกำเนิดขึ้นในปี 2537 เพื่อแสวงหาวิถีทางในการจัดการและอยู่ร่วมกับป่าอย่างเป็นระบบและยั่งยืน รวมถึงการวางแผนงานในการอนุรักษ์ป่า ด้วยกิจกรรมของกลุ่มต่างๆ อาทิ การรณรงค์ปลูกป่าเพื่ออนุรักษ์ป่าต้นน้ำคลองคราม โดยการเชิญป่าไม้เขตสุราษฎร์ธานีเข้าร่วมและนำเสนอแผนอนุรักษ์ป่าของชุมชน และเพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาเรื่องที่ทำกินในเขตป่าอนุรักษ์ จึงได้มีการประสานงานระหว่างเจ้าหน้าที่ป่าไม้และชุมชน ในการจัดทำแนวเขตป่าอนุรักษ์และที่ดินทำกินของชาวบ้าน นับเป็นการสร้างความมั่นใจในการรักษาป่าของชุมชน และเป็นการให้สิทธิในการคุ้มครองดูแลป่าของเจ้าหน้าที่ป่าไม้แก่ชุมชน ไม่เพียงแต่การสร้างความเข้าใจกับหน่วยงานราชการในพื้นที่ ทางกลุ่มฯ ยังได้สร้างความเข้าและการมีส่วนร่วมในการเข้ามาดูแลผืนป่าแก่คนในชุมชน โดยการแบ่งหน้าที่ในการทำงานเป็นฝ่ายต่างๆ อาทิ ฝ่ายส่งเสริม สนับสนุนโดยมีนายสมเจตน์ เพ็ชรเพ็ง และฝ่ายประชาสัมพันธ์ที่รับผิดชอบโดย นายสุกรี คิดการเหมาะ เป็นหัวเรี่ยวหัวแรงในการคิดหากิจกรรมในการสร้างความเข้าใจแก่เยาวชนผ่านกิจกรรมค่ายเยาวชน

เครือข่ายความร่วมมือพิเศษ

ไม่ได้เป็นเครือข่ายความร่วมมือพิเศษ

พื้นที่การทำงาน

  1. จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ผู้ประสานงาน

  1. นายปิติพงศ์ คิดการเหมาะ (ตำแหน่ง : )
    ที่อยู่ : 102 หมู่ 13 ตำบลท่าอุแท อำเภอกาญจนดิษฐ์ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 84160
    หมายเลขโทรศัพท์ : 0 1079 2500
  2. นายปิติพงษ์ คิดการเหมาะ (ตำแหน่ง : )
    ที่อยู่ : 10 หมู่ 13 ต.ท่าอุแท อ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี 84160
    หมายเลขโทรศัพท์ : 08 1079 2500

ประเภทสิทธิ

  1. สิทธิในการอนุรักษ์ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม และการใช้ประโยชน์จากการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
  2. สิทธิในการมีส่วนร่วมแสดงความคิดเห็นต่อโครงการพัฒนาของรัฐ/เอกชน
  3. สิทธิในการรับทราบและเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของราชการ

กลุ่มเป้าหมาย

  1. เกษตรกร/ชาวประมง
  2. ประชาชนทั่วไป