ข้อมูลทั่วไป

ประเภทองค์กร:
องค์กรพัฒนาเอกชน
ชื่อองค์กรภาษาไทย:
กลุ่มผู้หญิงและสันติภาพ ()
ชื่อองค์กรภาษาอังกฤษ:
()
โทรศัพท์ 1:
073-244-729
โทรศัพท์ 2:
086-491-6349
โทรสาร:
073-244-729
อีเมล์:
เว็บไซต์:
http://www.wevoicepeace.org
วันก่อตั้งองค์กร:
วันที่เริ่มเป็นสมาชิก:
2014-08-06
ที่อยู่:
เลขที่ 19 ถนนภิรมย์รัตน์ ตำบลสะเตง
อำเภอ:
เมืองยะลา
จังหวัด:
ยะลา
หมายเหตุ:
ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU):
ผลงานที่ผ่านมา:
1.การรับเรื่องราวร้องทุกข์ การให้ความช่วยเหลือและให้คำปรึกษาโดยอาสาสมัครในชุมชนที่มีความเข้าใจปัญหาความรุนแรงที่ผู้หญิงและเด็กต้องประสบท่ามกลางความเชื่อและวัฒนธรรมที่แตกต่าง 2.การคุ้มครองสิทธิและกฎหมาย และความเสมอภาค และการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ความเสมอภาค และการคุ้มครองสิทธิตามกระบวนการทางกฎหมายแก่ผู้หญิงและเด็กในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 3.เป็นศูนย์กลางสื่อสันติภาพสำหรับผู้หญิง
ประวัติโดยย่อ:
มูลนิธิผู้หญิง เป็นองค์กรพัฒนาเอกชน ซึ่งดำเนินการพัฒนาสตรี ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้หญิง และเด็กที่ประสบปัญหา ตลอดจนรณรงค์ให้สังคมตระหนัก ถึงปัญหาที่ผู้หญิง เผชิญอยู่ในสังคมปัจจุบัน ได้แก่ ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว และความรุนแรงทางเพศในรูปแบบต่างๆ มูลนิธิผู้หญิง ส่งเสริมและสนับสนุน ให้ผู้หญิงได้รับสิทธิเสมอภาค เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที่เป็นประโยชน์ และรณรงค์เผยแพร่เพื่อสร้างค่านิยมใหม่ ของหญิงชายในสังคม เมื่อเดือนมีนาคม พ.ศ.2527 โครงการเล็กๆ สำหรับผู้หญิงได้ถือกำเนิดขึ้นโดยมีชื่อว่า "ศูนย์ข่าวผู้หญิง" ซึ่งให้ข้อมูลแก่ผู้หญิงที่ต้องการเดินทางไปทำงานต่างประเทศ เพื่อป้องกันมิให้ผู้หญิงต้องถูกล่อลวงสู่ การค้าประเวณี นอกจากนี้ ยังผลิตสื่อการศึกษาสำหรับผู้หญิงในสาขาอาชีพต่างๆ ในปี พ.ศ.2528 ได้จัดทำโครงการบ้านพักผู้หญิงเพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ผู้หญิงที่ประสบปัญหาถูกสามีทุบตี รณรงค์เผยแพร่ปัญหาความรุนแรงในครอบครัว ต่อมาได้จัดทำโครงการคำหล้า เพื่อรณรงค์ให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการหยุดยั้ง การนำเด็กเข้าสู่กระบวนการค้าประเวณี โดยเริ่มจากการใช้หนังสือคำหล้า เผยแพร่ผ่านครูในโรงเรียนเพื่อเป็นสื่อการศึกษากับเด็ก นักเรียน

เครือข่ายความร่วมมือพิเศษ

ชื่อความร่วมมือพิเศษ:
องค์กรที่ได้รับรางวัลสิทธิมนุษยชนดีเด่น
วันที่เริ่มทำ:
10/12/2010
วันที่สิ้นสุด:
01/01/70

พื้นที่การทำงาน

  1. จังหวัดนราธิวาส
  2. จังหวัดยะลา
  3. จังหวัดปัตตานี

ผู้ประสานงาน

ประเภทสิทธิ

  1. ถิ่นกำเนิด
  2. เชื้อชาติ
  3. ภาษา
  4. สภาพทางกายภาพ และสุขภาพ
  5. สถานะของบุคคล
  6. ฐานะทางเศรษกิจหรือสังคม
  7. ความเชื่อทางศาสนา
  8. การศึกษาอบรม
  9. การละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
  10. สิทธิในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม
  11. สิทธิพื้นฐานในกระบวนการพิจารณา
  12. สิทธิที่จะให้คดีของตนได้รับการพิจารณาอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นธรรม
  13. สิทธิและเสรีภาพในชีวิต และร่างกาย

กลุ่มเป้าหมาย

  1. ประชาชนทั่วไป
  2. ผู้หญิง
  3. เด็ก