ข้อมูลทั่วไป

ประเภทองค์กร:
หน่วยงานรัฐ
ชื่อองค์กรภาษาไทย:
คณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ (สขร.)
ชื่อองค์กรภาษาอังกฤษ:
()
โทรศัพท์ 1:
0-2281-8552-3
โทรศัพท์ 2:
0-2281-8549
โทรสาร:
0-2281-8543
อีเมล์:
webmaster@oic.go.th
เว็บไซต์:
http://www.oic.go.th
วันก่อตั้งองค์กร:
วันที่เริ่มเป็นสมาชิก:
2014-07-25
ที่อยู่:
สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สำนักงานปลัดสำนักงานนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล ถนนพิษณุโลก
อำเภอ:
ดุสิต
จังหวัด:
กรุงเทพฯ
หมายเหตุ:
เพื่อปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับการบริหารกฎหมาย การพิทักษ์ตุ้มครองสิทธิของประชาชนในการใช้สิทธิรับรู้ปฏิบัติตามกฎหมายข้อมูลข่าวสารของราชการ การตราพระราชกฤษฎีกา การออกระเบียบ ประกาศต่าง ๆ รวมถึงการดำเนินงานพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารของราชการและงานด้านวิชาการ
ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU):
ผลงานที่ผ่านมา:
ประวัติโดยย่อ:
พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 เกิดขึ้นโดยมีการยกร่างกฎหมายในสมัยรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุนเนื่องจากในยุคนั้นได้เน้นกระบวนการที่โปร่งใสในระบบราชการ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาจึงเสนอต่อรัฐบาลให้จัดตั้งคณะกรรมการ ยกร่างกฎหมายเรื่องนี้ขึ้น โดยได้มีการจัดทำร่วมกับอาจารย์มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและมหาวิทยาลัยรามคำแหงซึ่งได้ดำเนินการยกร่างสำเร็จในระดับหนึ่ง ทำให้แนวความคิดในเรื่องกฎหมายข้อมูลข่าวสารแพร่หลายออกมาอย่าง กว้างขวาง แต่ขณะนั้นไม่มีโอกาสเสนอต่อรัฐสภา จนกระทั่งในสมัยรัฐบาลพลเอกชวลิต ยงใจยุทธ จึงได้มีการเสนอรัฐสภามีมติเห็นชอบเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม 2540 และได้มีการประกาศเป็นกฎหมายในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ 10 กันยายน 2540 โดยมีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2540 เป็นต้นมา

เครือข่ายความร่วมมือพิเศษ

ไม่ได้เป็นเครือข่ายความร่วมมือพิเศษ

พื้นที่การทำงาน

ทั่วประเทศ

ผู้ประสานงาน

  1. พ.ต.ท.เธียรรัตน์ วิเชียรสรรค์ (ตำแหน่ง : )
    ที่อยู่ : สำนักงานคณะกรรมการข้อมูลข่าวสารของราชการ สำนักงานปลัดสำนักงานนายกรัฐมนตรี ทำเนียบรัฐบาล ถนนพิษณุโลก
    อำเภอ : ดุสิต
    รหัสไปรษณีย์ : 10300
    หมายเลขโทรศัพท์ : 0-2281-8557

ประเภทสิทธิ

  1. สิทธิในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม
  2. สิทธิพื้นฐานในกระบวนการพิจารณา
  3. สิทธิได้รับการปฎิบัติหน้าที่เหมาะสมในการดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรม
  4. สิทธิได้รับความคุ้มครอง และความช่วยเหลือที่จำเป็นและเหมาะสมจากรัฐ
  5. สิทธิได้รับความคุ้มคองในการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีอย่างเหมาะสม
  6. สิทธิได้รับการสอบสวนหรือการพิจารณาคดีที่ถูกต้อง รวดเร็วและเป็นธรรม
  7. สิทธิได้รับความช่วยเหลือทางกฎหมายอย่างเหมาะสมจากรัฐ ในคดีแพ่ง

กลุ่มเป้าหมาย

  1. ประชาชนทั่วไป