ข้อมูลทั่วไป

ประเภทองค์กร:
องค์กรพัฒนาเอกชน
ชื่อองค์กรภาษาไทย:
ศูนย์ช่วยเหลือด้านกฎหมายแก่ชาวไทยภูเขา ()
ชื่อองค์กรภาษาอังกฤษ:
()
โทรศัพท์ 1:
0 5374 8136
โทรศัพท์ 2:
โทรสาร:
0 5374 8136
อีเมล์:
เว็บไซต์:
http://thramdt.webs.com/
วันก่อตั้งองค์กร:
1991-01-01
วันที่เริ่มเป็นสมาชิก:
2014-01-01
ที่อยู่:
10/3 หมู่ 19 ตำบลรอบเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000
อำเภอ:
เมืองเชียงราย
จังหวัด:
เชียงราย
หมายเหตุ:
1. เพื่อให้การศึกษากฎหมายที่เกี่ยวข้องและจำเป็นแก่ชาวไทยภูเขา 2. เพื่อให้ความช่วยเหลือตามมาตราการทางกฎหมายแก่ชาวไทยภูเขา 3. เพื่อส่งเสริมให้เกิดการปรับปรุง แก้ไขกฎหมาย ระเบียบข้อบังคับต่างๆให้สอดคล้องกับความเป็นจริงและเป็นธรรมแก่ชาวไทยภูเขายิ่งขึ้น
ข้อตกลงความร่วมมือ (MOU):
ผลงานที่ผ่านมา:
ประวัติโดยย่อ:
จากการทำงานใกล้ชิดกับชาวไทยภูเขาในประเทศไทย ได้พบเห็นว่าชาวไทยภูเขามักถูกละเมิดสิทธิอยู่บ่อยๆ ทั้งๆ ที่ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน บางปัญหาหากได้รับการแก้ไขตามกระบวนการทางกฎหมายอย่างเป็นธรรมแล้วก็จะทำให้ปัญหานั้นหมดไป แต่ปรากฏว่าชาวไทยภูเขาเกือบทั้งหมดยังไม่สามารถใช้สิทธิหรือพึ่งพากระบวนการทางกฎหมายได้อย่างเต็มที่ทั้งนี้เพราะว่ายังขาดความรู้ความเข้าใจถึงสิทธิหน้าที่ของตนเองตามกฎหมายและขาดความมั่นใจในการดำเนินการตามกระบวนการทางกฎหมาย สมาคมสร้างสรรค์และพัฒนาม้งในประเทศไทย (สมท.) จึงได้จัดตั้งศูนย์ช่วยหลือด้านกฎหมายแก่ชาวไทยภูเขา (ชกข.) เพื่อเป็นหน่วยงานหนึ่งในการเผยแพร่ให้ความรู้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายแก่ชาวไทยภูเขา

เครือข่ายความร่วมมือพิเศษ

ไม่ได้เป็นเครือข่ายความร่วมมือพิเศษ

พื้นที่การทำงาน

  1. จังหวัดเชียงราย
  2. จังหวัดเชียงใหม่
  3. จังหวัดแม่ฮ่องสอน

ผู้ประสานงาน

  1. นายยงยุทธ สืบทายาท) (ตำแหน่ง : )
    ที่อยู่ : 10/3 หมู่ 19 ตำบลรอบเวียง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 57000
    หมายเลขโทรศัพท์ : 0 5374 8136

ประเภทสิทธิ

  1. สิทธิในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม
  2. สิทธิพื้นฐานในกระบวนการพิจารณา
  3. สิทธิที่จะให้คดีของตนได้รับการพิจารณาอย่างถูกต้อง รวดเร็ว และเป็นธรรม
  4. สิทธิได้รับการปฎิบัติหน้าที่เหมาะสมในการดำเนินการตามกระบวนการยุติธรรม
  5. สิทธิได้รับความคุ้มครอง และความช่วยเหลือที่จำเป็นและเหมาะสมจากรัฐ
  6. สิทธิได้รับความคุ้มคองในการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีอย่างเหมาะสม
  7. สิทธิได้รับการสอบสวนหรือการพิจารณาคดีที่ถูกต้อง รวดเร็วและเป็นธรรม
  8. สิทธิได้รับความช่วยเหลือทางกฎหมายอย่างเหมาะสมจากรัฐ ในคดีแพ่ง

กลุ่มเป้าหมาย

  1. กลุ่มชาติพันธุ์/ชนเผ่า